การใช้คำแทนสิ่งของเพื่อสร้างประโยคบอกเล่าและคำถาม และประโยคที่แสดงความเป็นเจ้าของสิ่งของต่าง ๆ และศัพท์ที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ
กับคำนาม และคำอื่น ๆ และการเรียงคำในประโยค ประธานของประโยค ส่วนท้ายของประโยค เพื่อให้เข้าใจการและนำไปใช้ในการสนทนาและสอบวัดระดับได้
これ、それ、あれ、このかばん、そのかばん、あのかばん、さとう、すずき、たかはし
การใช้ これ、それ、あれ
การใช้ この、その、あの
คำศัพท์ที่เป็นภาษาต่างประเทศใช้อักษรคาตาคานะเขียน
คำศัพท์จากภาษาต่างประเทศใช้เขียนด้วยอักษรคาตาคานะบทที่ 2
ノート、コンピューター、
ペン สมุด,คอมพิวเตอร์,ปากกาและศัพท์ที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ
漢字 และศัพท์คันจิที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ 六、七、八、九、十、百、千、’万、円เลข6-10และหนึ่งร้อย,พัน,หมื่น,คำว่าเยนหน่วยเงินของประเทศญี่ปุ่น
การใช้คำช่วยの แสดงการเป็นเจ้าของเช่น
กระเป๋าของฉัน
わたしのかばん
หรือใช้ในคำว่าเกี่ยวกับ
カメラのざっし
นิตยสารเกี่ยวกับกล้อง (นิตยสารกล้อง)
การใช้คำช่วย の นาม の นาม
わたしのほん หนังสือของฉัน
たなかさんのくるま รถของคุณทานากะ
たなかさんの ของคุณทานากะ
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ
これはペンですか。
えんぴつですか。
これは~
และศัพท์ที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ การถามเพื่อให้เลือก ตอบอย่างใดอย่างหนึ่งจากสองสิ่งที่ยกขึ้นมาถาม
おみやげ ของฝาก
おさけ เหล้า
おくに ประเทศ
おしごと งาน
และศัพท์ที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ การใช้ お นำหน้าคำนามเพื่อแสดงถึงความสุภาพ(ไม่สามารถเติมได้กับทุกคำนาม) เป็นการอธิบายและยกตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการเรียนระดับสูงต่อไป
การใช้สำนวนแสดงการรับรู้ของคู่สนทนา そうですか。เสียงต่ำในช่วงท้าย か และศัพท์ที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ
คำว่า “งั้นเหรอ” そうですか。คนญี่ปุ่นให้ความสำคัญกับการสนทนา คู่สนทนาที่ตั้งใจฟังจะมีการตอบรับเป็นระยะ ทั้งพยักหน้า และคำศัพท์บางคำ
การใช้そうです (ใช่ค่ะ/ครับ)
และちがいます (ไม่ใช่ค่ะ/ครับ) และศัพท์ที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ
そうです เป็นการตอบรับและ ちがいます เป็นการปฏิเสธ
การใช้ これからおせわになります。,こちらこそ、あのう และศัพท์ที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ
เวลาแนะนำตัวและการฝากเนื้อฝากตัวในการเริ่มงานใหม่ และอื่น ๆ
คำแสดงคำถาม だれ、どなた、
なんさい ศัพท์คำถามที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ จาก 5w5H ใคร ที่ไหน เมื่อไร และคำช่วย の、は、
คำแสดงคำถาม ( 疑問・ぎもん) และการฝึกใช้คำช่วยในประโยค